Local
 
สถิติผู้เข้าชม
Today
1
Yesterday
1
This month
24
This year
114
ทำเนียบรางวัลนักวิจัย

รางวัลผลงานวิจัย จากสภาวิจัยแห่งชาติ

คุณสมบัติการพิจารณารับรางวัล

เป็นผลงานวิจัยของนักวิจัยไทยที่ทำในประเทศไทย หรืออาจมีบางส่วนหรือทั้งหมดที่ทำในต่างประเทศ ผลงานวิจัยนั้นต้องเป็นประโยชน์ต่อประเทศไทย ทั้งนี้คณะผู้วิจัยอาจมีนักวิจัยชาวต่างประเทศร่วมด้วยหรือไม่ก็ได้ และเป็นผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูง ใช้วิธีวิเคราะห์หรือสังเคราะห์ที่เหมาะสมอย่างยิ่ง มีความชัดเจน มีประสิทธิผล และเป็นผลงานวิจัยที่สำเร็จสมบูรณ์ ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับชาติ หรือเสนอในการประชุมทางวิชาการแล้ว

ปี 2558

ศ.เพลินจันทร์ เชษฐ์โชติศักดิ์

ผลงานวิจัยเรื่อง

การเปรียบเทียบ trimethoprim - sulphamethoxazole กับ trimethoprim sulphamethoxazole ร่วมกับ doxycyclineในการรักษาโรคเมลิออยโดสิสในช่วงการกาจัดเชื้อป้องกันการกลับมาเป็นซ้า (MERTH) : การศึกษาแบบ multicentre, double-blind, non-inferiority, randomized controlled ตีพิมพ์ในวารสาร The Lancet 2014 Impact factor 45.217

ผู้ร่วมวิจัย

-

สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์

ปี 2555

ศ.วิจิตรา ทัศนียกุล

ผลงานวิจัยเรื่อง

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางพันธุกรรมของยีนในกลุ่ม HLA กับการแพ้ยาทางผิวหนังชนิดรุนแรงที่เกิดจากยารักษาโรคลมชักและยาลดระดับกรดยูริก (Relationship between genetic polymorphism of HLA gene and risk of severe cutaneous reactions caused by anticonvulsant and uric acid lowering agents)

ผู้ร่วมวิจัย

ศ.ก้องเกียรติ กูณฑ์กันทรากร : รศ.สมศักดิ์ เทียมเก่า : รศ.ณธร ชัยญาคุณาพฤกษ์ : รศ.สุดา วรรณประสาท : รศ.เจริญ ชุณหกาญจน์

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ

ปี 2554

รศ.สมชาย ปิ่นละออ

ผลงานวิจัยเรื่อง

ผลของยาพราซิควอนเทล และเคอร์คูมินต่อการรักาโรคพยาธิใบไม้ตับในสัตว์ทดลอง (Effect of Praziquntel and Curcumin on Opisthorchiasis Treatment in Animal Model)

ผู้ร่วมวิจัย

รศ.พวงรัตน์ ยงวณิชย์ : ผศ.พรทิพย์ ปิ่นละออ : ดร.สุขสันติ ประกอบวงษ์ : นางสาวลักขณาวัลย์ เจริญสุข

สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ

ปี 2553

รศ.เจริญ ชุณหกาญจน์

ผลงานวิจัยเรื่อง

ความสัมฤทธิ์ผลของเจลว่านหางจระเข้ในการรักษาโรคไลเคนแพลนนัสในช่องปาก

ผู้ร่วมวิจัย

รศ.บังอร ศรีพาณิชกุลชัย : ผศ.พงษ์เดช สารการ : นางสาวพลอยทราย บุศราคำ

สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ

รศ.อมรรัตน์ ร่มพฤกษ์

ผลงานวิจัยเรื่อง

การพัฒนาชุดทดสอบเพื่อใช้ตรวจหาปฏิกิริยาแอนติบอดีต่อแอนติเจนบนเม็ดเลือดแดง

ผู้ร่วมวิจัย

จงกล อรรคฮาต:ทิพาพร จรูญศิริมณีกุล:พูนทรัพย์ ศรีพารา:ฉลาวรรณ บุตรโยจันโท: สุกัญญา พงษ์พิริยะเดชะ:จินตนา พัวไพโรจน์:อรุณรัฐ ร่มพฤกษ์

สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ

ปี 2551

รศ.ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล

ผลงานวิจัยเรื่อง

โนโมแกรมสำหรับทำนายการเกิดโรคกระดูกพรุนโดยใช้อายุ น้ำหนักและการตรวจอัลตร้าซาวด์ส้นเท้า

ผู้ร่วมวิจัย

รศ.ทวี ทรงพัฒนาศิลป์ : รศ.ทวน วี เหวียน : ผศ.สุธี พาณิชกุล

สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ

ปี 2549

ศ.ผิวพรรณ มาลีวงษ์

ผลงานวิจัยเรื่อง

ศักยภาพของ Trichinella spiralis antigen ในการวินิจฉัยทางน้ำเหลืองวิทยาต่อโรค capillariasis philippinensis ในคนโดยวิธี immunoblot analysis

ผู้ร่วมวิจัย

ศ.วันชัย มาลีวงษ์ : รศ.วัฒนา สุขีไพศาลเจริญ : รศ.นิมิตร มรกต

สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ

ปี 2548

ศ.ภิเศก ลุมพิกานนท์

ผลงานวิจัยเรื่อง

การวิจัยแบบ Randomized Controlled Trial เพื่อการประเมินการดูแลผู้ตั้งครรภ์แนวใหม่

ผู้ร่วมวิจัย

รศ.โฉมพิลาศ จงสมชัย : นพ.ณรงค์ วินิยกูล

สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ

ปี 2545

รศ.สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน

ผลงานวิจัยเรื่อง

การพัฒนาวิธีการตรวจหาพยาธิใบไม้ตับในอุจจาระด้วยวิธีปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอร์เรสในหนูแฮมสเตอร์ที่ติดเชื้อ Opisthorchis viverrini

ผู้ร่วมวิจัย

ศ.วันชัย มาลีวงษ์ : รศ.รศนา วงศ์รัตนชีวิน : รศ.วิชิต พิพธกุล : ผศ.วิลาวัลย์ ภูมิดอนมิ่ง

สาขาเกษตร และชีววิทยา

รศ.ทรงขวัญ ศิลารักษ์

ผลงานวิจัยเรื่อง

โมเดลทำนายสำหรับพยากรณ์ความน่าจะเป็นในการหายไปของลิ่มเลือดในห้องหัวใจเอเตรียมซ้ายหลังได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดในผู้ป่วยลิ้นไมตรัลตีบก่อนจะทำการขยายลิ้นหัวใจด้วยบอลลูน

ผู้ร่วมวิจัย

และคณะ

สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ

ปี 2543

ศ.วันชัย มาลีวงษ์

ผลงานวิจัยเรื่อง

การศึกษาใช้แอนติเจนชนิดสารขับถ่ายคัดหลั่งของหนอนพยาธิใบไม้ตับ Fasciola gigantic ที่ทำให้บริสุทธิ์บางส่วน เพื่อใช้วินิจฉัยทางภูมิคุ้มกันน้ำเหลืองต่อโรคพยาธิใบไม้ตับ (Fascioliasis) ในคน

ผู้ร่วมวิจัย

รศ.ชัยศิริ วงศ์คำ : ศ.ผิวพรรณ มาลีวงษ์ : รศ.วิชิต พิพิธกุล

สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ

ปี 2540

ศ.ภิเศก ลุมพิกานนท์

ผลงานวิจัยเรื่อง

ผลของยาฉีดคุมกำเนิดชนิดดีโปเมดรอกซีโปรเจสเตอโรนอะซีเตทในการปัองกันการเกิดเนื้องอกมดลูกชนิดไลโอไมโอม่าที่ต้องรักษาโดยการผ่าตัด: การศึกษาแบบมีกลุ่มเปรียบเทียบในหลายสถาบัน

ผู้ร่วมวิจัย

และคณะ

สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ